วันศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2550
เขตยานนาวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครอง ของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม
ที่ตั้งและอาณาเขต
แต่เดิมบริเวณยานนาวา (รวมสาทรและบางคอแหลม) มีชื่อเรียกว่า "บ้านทวาย" เนื่องจากมีชาวเมืองทวายอาศัยอยู่จำนวนมาก เมื่อมีการปรับปรุงการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บริเวณนี้จึงได้รับการจัดตั้งเป็น อำเภอบ้านทะวาย ขึ้นอยู่กับจังหวัดพระประแดง ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอยานนาวา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากชื่อบ้านทะวายมีสำเนียงเป็นภาษาต่างด้าว โดยถือหลักตามวัดยานนาวาซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่
ภายหลังได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอยานนาวาจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตยานนาวา มีพื้นที่การปกครอง 8 แขวง ได้แก่ แขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน แขวงทุ่งมหาเมฆ แขวงช่องนนทรี แขวงบางโพงพาง แขวงบางโคล่ แขวงบางคอแหลม และแขวงวัดพระยาไกร
ต่อมาพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้นมาก พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กรุงเทพมหานครจึงจัดตั้งเขตยานนาวา สาขา 1 (ยานนาวา) และเขตยานนาวา สาขา 2 (บางคอแหลม) ขึ้นในปี พ.ศ. 2532 และได้ยกฐานะเป็นเขตสาทรและเขตบางคอแหลมในปีเดียวกัน ส่วนวัดยานนาวาและแขวงยานนาวาซึ่งเป็นที่มาของชื่อเขตนั้น ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่เขตสาทร
มหาวิทยาลัยเยล (Yale University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ในเมืองนิวฮาเวน มลรัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งใน พ.ศ. 2244 (ค.ศ. 1701) มหาวิทยาลัยเยลเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 3 ของสหรัฐอเมริกา
ในปี พ.ศ. 2549 มีนักเรียน 16,700 คน อาจารย์ 2,300 คน
มหาวิทยาลัยเยลมีชื่อเสียงในหลายด้าน โดยบุคคลที่มีชื่อเสียงที่จบจากมหาวิทยาลัยเยล ได้แก่ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช และ บิล คลินตัน
วันศุกร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2550
ขบวนการพลังขั้นสูง โอเรนเจอร์ (「超力戦隊オーレンジャー」, Chouriki Sentai Orenja , 超力戦隊オーレンジャー)(โชวริคิเซนไท โอเรนจา) เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 19 ของประเทศญี่ปุ่น และถือเป็นการฉลองครบรอบ 20 ปีของขบวนการนักสู้ด้วย ออกอากาศทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกวันศุกร์ เวลา 17.30-17.55 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2538 ถึง 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 รวมความยาวทั้งสิ้น 48 ตอน
พันธมิตร
จักรวรรดิจักรกลบารานอยด์ที่เคยรุกรานโลกมาครั้งนึงแล้ว เมื่อ 6 ร้อยล้านปีก่อน และครั้งนี้บารานอยด์กลับมาอีกครั้ง โดยเอาจริงถึงขั้นมาตั้งฐานทัพบนดวงจันทร์เพื่อจะยึดครองโลกให้ได้
ศัตรู
จักรพรรดิ์ มาคัสฟุน
ราชินี ไฮสเทเรีย
เจ้าชาย บูลดอนท์
อาชะกับโอจะ ราชวงค์รุ่นเก่า
บอมเบอร์ เดอะเกรท ราชวงค์รุ่นใหม่
และมีความสามารถพิเศษคือสามารถเปลี่ยนส่วนหัวได้ทั้ง5แบบ
และสามารถเปลี่ยนเป็นรูปปั้นหินได้ (เฉพาะช่วงเปิดตัวโอบล็อกเกอร์ เท่านั้น)
โอเรนเจอร์โรโบ ประกอบทั้ง 5 ส่วน ได้แก่
- สกายฟินิกช์ ยานรูปนกฟินิกซ์สีแดงของโอเรด แปลงเป็นส่วนหัวและด้านหลังอขงหุ่น
แดชเลออน ยานรูปสฟิงคซ์ของโอบลู แปลงเป็นลำตัวช่วงบนและแขนทั้ง2ข้าง
แกรนด์เทารัสยานรูปกระทิงเทารัสของโอกรีน แปลงเป็นลำตัวส่วนล่างและต้นขา
โดกูแลนเดอร์
โมลโลดเดอร์
เรดพั้นช์เชอร์ เป็นหุ่นหลักตัวที่ 2 ดวบคุมโดยโอเรด
บัสเตอร์ โอเรนเจอร์โรโบ เกิดจากการรวมร่างของโอเรนเจอร์ โรโบ และ เรดพั๊นช์เชอร์ โดยการประกบด้านหลังกัน และ แขนของเรดพั๊นช์เชอร์จะเป็นกระบอกปืนที่หัวไหล่ทั้ง2ข้าง
โอบล็อกเกอร์ สามารถแยกส่วนประกอบทั้ง 5 ได้แก่
- เรดบล็อกเกอร์ แปลงเป็นลำตัวช่วงบน เป็นรูปดาว
บลูบล็อกเกอร์ แปลงเป็นลำตัวช่วงล่างและต้นขา รูปเพชรกลับหัว
กรีนบล็อกเกอร์ แปลงเป็นขาทั้ง2ข้าง
เยลโล่บล็อกเกอร์ แปลงเป็นแขนทั้ง2ข้างและส่วนหัวของหุ่น
พิงค์บล็อกเกอร์ แปลงเป็นส่วนเท้าทั้ง2ข้าง
คิงปิรามิดเดอร์ เป็นหุ่นยนต์ของคิงส์เรนเจอร์โดยแบ่งทั้ง 3 โหมด คือ
- ปิรามิดโหมด เป็นโหมดแรก มีพลังในการใช้ลำแสงจรดพื้นดินใส่ศัตรูได้(ลักศณะการยิงจะคล้ายกับกระแสไฟฟ้าลงสู่พื้นดิน)
แคเรียเออร์โหมด บังคับโดย คิงเรนเจอร์
แบทเทิ่ลโหมด บังคับโดย โอเรด โดยที่จะนำโอเรนเจอร์โรโบ , เรดพั๊นช์เชอร์ แยกส่วนและนำไปใส่ในลำตัวของคิงปิรามิเดอร์ ในช่วงหลังสามารถนำ โอบล็อกเกอร์ ใส่แทนโอเรนเจอร์โรโบ ได้
แทคเกี้ลบอย เป็นหุ่นยนต์สนับสนุนของโอเรนเจอร์สามารถเป็นอาวุธของโอบล็อกเกอร์ได้ มีท่าไม้ตายคล้ายกับการโยนโบลลิ่ง
กัมมาจิน เป็นหุ่นยนต์ที่มีสามารถขอพรอะไรก็ได้เมื่อมีกุญแจสีทองมาเสียบเอาไว้และสามารถย่อส่วนเท่าคนได้
- ปิรามิดโหมด เป็นโหมดแรก มีพลังในการใช้ลำแสงจรดพื้นดินใส่ศัตรูได้(ลักศณะการยิงจะคล้ายกับกระแสไฟฟ้าลงสู่พื้นดิน)
- เรดบล็อกเกอร์ แปลงเป็นลำตัวช่วงบน เป็นรูปดาว
วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2550
กันดั้ม (ガンダム Gundam) เป็นชื่อเรียกซีรีส์แอนิเมชั่นญี่ปุ่น ผลิตโดยบริษัทซันไรส์จาก กันดั้มนับเป็นอะนิเมะซีรีส์แรกซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มการ์ตูนหุ่นยนต์แนวสมจริงและยังคงมีการสร้างภาคต่อมาถึงปัจจุบัน
ซีรีย์กันดั้มแบ่งออกเป็นสองกลุ่มหลักๆ คือ ช่วงที่ใช้ระบบปฏิทินแบบ Universal Century และจักรวาลคู่ขนานอื่นๆ
ผู้กำกับและเขียนบทกันดั้มภาคแรก ๆ คือ โทะมิโนะ โยะชิยุกิ (Tomino Yoshiyuki) ผู้ออกแบบตัวละครคือ ยะซุฮิโกะ โยะชิกะซุ หรือ YAS (Yasuhiko Yoshikazu)
หนังสือการ์ตูนกันดั้ม ซึ่งเป็นการดัดแปลง ตัดทอน หรือขยายความจากเนื้อเรื่องในอะนิเมะซีรีส์ ปัจจุบันมีตีพิมพ์ในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์หลายแห่ง เช่น บงกช พับลิชชิ่ง และสยามอินเตอร์คอมิกส์
ซีรีส์แอนิเมชันกันดั้ม (เรียงลำดับตามการออกฉายในญี่ปุ่น)
โมบิลสูทกันดั้ม (Gundam) หรือ กันดั้ม 0079 (โทรทัศน์ - 1979, ตัดต่อใหม่เพื่อฉายเป็นภาพยนตร์สามภาค - 1981-1982) ฉายในไทยปี พ.ศ. 2524 ทางช่อง 7 สี ใช้ชื่อ อภินิหารกันดั้ม
โมบิลสูทเซต้ากันดั้ม (Zeta Gundam, Z-Gundam) (โทรทัศน์ - 1985, ตัดต่อใหม่เพื่อฉายเป็นภาพยนตร์ - 2005)
โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลเซต้า (Gundam ZZ) (โทรทัศน์ - 1986)
โมบิลสูทกันดั้ม : ชาร์ เคาน์เตอร์ แอทแทค (Char's Counter Attack) (ภาพยนตร์ - 1988)
โมบิลสูทกันดั้ม 0080 : วอร์อินเดอะพอกเก็ต (โอวีเอ - 1989)
โมบิลสูทกันดั้ม F91 (ภาพยนตร์ - 1991)
โมบิลสูทกันดั้ม 0083 : สตาร์ดัสต์เมโมรี่ (OVA) - 1991, ตัดต่อใหม่เพื่อฉายเป็นภาพยนตร์ - 1992)
โมบิลสูทวิกทอรี่กันดั้ม (V Gundam) (โทรทัศน์ - 1993)
โมบิลไฟเตอร์จีกันดั้ม (G Gundam) (โทรทัศน์ - 1994) ฉายในไทยปี พ.ศ. 2546 ทางไอทีวี ใช้ชื่อ หุ่นนักสู้สะท้านปฐพี G กันดั้ม
บันทึกการยุทธ์บทใหม่ กันดั้มวิง (W Gundam) (โทรทัศน์ - 1995, โอวีเอ แบบตัดต่อรวบรวมใหม่ - 1996) ฉายในไทยปี พ.ศ. 2545 ทางช่อง 9 อ.ส.ม.ท.
โมบิลสูทกันดั้ม 08 ทีม (Gundam: The MS 08th Team) (โอวีเอ - 1996)
ศตวรรษใหม่แห่งการยุทธ์ กันดั้มเอกซ์ (Gundam X) (โทรทัศน์ - 1996) ฉายในไทยปี พ.ศ. 2545 ทางไอทีวี
บันทึกการยุทธ์บทใหม่ กันดั้มวิง - เอนด์เลส วอลซ์ (Gundam W - Endless Waltz) (โอวีเอ - 1997, ตัดต่อใหม่เพื่อฉายเป็นภาพยนตร์ - 1998)
เทิร์นเอกันดั้ม (Turn A Gundam) (โทรทัศน์ - 1999, ตัดต่อใหม่เพื่อฉายเป็นภาพยนตร์ - 2002)
จีเซเวอร์ (G Saviour) (ภาพยนตร์ - 2000)
โมบิลสูทกันดั้มซี้ด (Gundam SEED) (โทรทัศน์ - 2002, แบบตัดต่อรวบรวมใหม่ - 2004) ฉายในไทยปี พ.ศ. 2547 ทางไอทีวี
โมบิลสูทกันดั้มเอ็มเอสอิกลู : บันทึกลับสงครามหนึ่งปี (ภาพยนตร์ - 2004)
โมบิลสูทกันดั้มซี้ดเดสทินี (Gundam SEED Destiny) (โทรทัศน์ - 2004)
กันดั้มซี๊ด C.E.73 สตาร์เกเซอร์ (Gundam SEED C.E.73 Stargazer) (OVA/ONA - 2006)
โมบิลสูทกันดั้มเอ็มเอสอิกลู อโพคาลิบ 0079
กันดั้มดับเบิ้ลโอ (Gundam 00) (โทรทัศน์ - 2007)
วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2550
กลุ่มดาวกิ้งก่า อยู่ในซีกฟ้าเหนือ ระหว่างกลุ่มดาวหงส์ กลุ่มดาวแคสซิโอเปีย และกลุ่มดาวแอนดรอเมดา เป็นหนึ่งในกลุ่มดาว 88 กลุ่มที่รับรองโดยสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ตั้งชื่อโดยโจแฮนเนส เฮเวลีอุส ในคริสต์ศตวรรษที่ 17
แอนดรอเมดา | เครื่องสูบลม | นกการเวก | คนแบกหม้อน้ำ | นกอินทรี | แท่นบูชา | แกะ | สารถี | คนเลี้ยงสัตว์ | สิ่ว | ยีราฟ | ปู | สุนัขล่าเนื้อ | สุนัขใหญ่ | สุนัขเล็ก | แพะทะเล | กระดูกงูเรือ | แคสซิโอเปีย | คนครึ่งม้า | ซีฟิอัส | ซีตัส | กิ้งก่าคะมีเลียน | วงเวียน | นกเขา | ผมเบเรนิซ | มงกุฎใต้ | มงกุฎเหนือ | นกกา | ถ้วย | กางเขนใต้ | หงส์ | โลมา | ปลากระโทงแทง | มังกร | ม้าแกลบ | แม่น้ำ | เตาหลอม | คนคู่ | นกกระเรียน | เฮอร์คิวลีส | นาฬิกา | งูไฮดรา | งูไฮดรัส | อินเดียนแดง | กิ้งก่า | สิงโต | สิงโตเล็ก | กระต่ายป่า | คันชั่ง | หมาป่า | แมวป่า | พิณ | ภูเขา | กล้องจุลทรรศน์ | ยูนิคอร์น | แมลงวัน | ไม้ฉาก | ออกแทนต์ | คนแบกงู | นายพราน | นกยูง | ม้าบิน | เพอร์ซิอัส | นกฟีนิกซ์ | ขาตั้งภาพ | ปลา | ปลาใต้ | ท้ายเรือ | เข็มทิศ | ตาข่าย | ลูกธนู | คนยิงธนู | แมงป่อง | ช่างแกะสลัก | โล่ | งู | เซกซ์แทนต์ | วัว | กล้องโทรทรรศน์ | สามเหลี่ยม | สามเหลี่ยมใต้ | นกทูแคน | หมีใหญ่ | หมีเล็ก | ใบเรือ | หญิงสาว | ปลาบิน | หมาจิ้งจอก
วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550
ประวัติ
บิล คลินตันเกิดในเมือง Hope มลรัฐอาร์คันซอ โดยมีชื่อว่า William Jefferson Blythe III ซึ่งตั้งตามชื่อพ่อของเขาเอง (William Jefferson Blythe Jr.) ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต์ก่อนคลินตันเกิดเพียง 3 เดือน หลังจากนั้นนาง Virginia Dell Cassidy มารดา ได้แต่งงานใหม่กับนาย Roger Clinton ซึ่งบิลได้เปลี่ยนนามสกุลตามอย่างเป็นทางการเมื่ออายุ 14 ปี
ผู้ว่าการรัฐ
คลินตันเลือกสมาชิกวุฒิสมาชิกอัล กอร์ร่วมทีมรองประธานาธิบดี เอาชนะการเลือกตั้งต่อประธานาธิบดีจอร์จ บุช เมื่อ ค.ศ. 1992 โดยอาศัยจุดขายด้านเศรษฐกิจในประเทศที่ตกต่ำหลังจากประธานาธิบดีจอร์จ บุช ไปเน้นกิจการต่างประเทศอย่างเช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย
ในการเลือกตั้งทั่วไประหว่างสมัยของคลินตันใน ค.ศ. 1994 พรรคเดโมแครตได้เสียที่นั่งข้างมากในรัฐสภาเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี ทำให้เกิดสภาวะที่ประธานาธิบดีกับเสียงข้างมากของสภามาจากคนละพรรคกัน
คลินตันมีสัมพันธ์อันดีกับนายกรัฐมนตรี โทนี แบลร์ แห่งสหราชอาณาจักร เขามีบทบาทในกิจการต่างประเทศที่สำคัญ เช่น การส่งทหารเข้าไปในประเทศโซมาเลีย การโจมตีกรุงโคโซโวของอดีตประเทศยูโกสลาเวียเดิม สันติภาพในไอร์แลนด์เหนือ และกรณีของประเทศอิสราเอลกับปาเลสไตน์
บิล คลินตันเกิดในเมือง Hope มลรัฐอาร์คันซอ โดยมีชื่อว่า William Jefferson Blythe III ซึ่งตั้งตามชื่อพ่อของเขาเอง (William Jefferson Blythe Jr.) ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต์ก่อนคลินตันเกิดเพียง 3 เดือน หลังจากนั้นนาง Virginia Dell Cassidy มารดา ได้แต่งงานใหม่กับนาย Roger Clinton ซึ่งบิลได้เปลี่ยนนามสกุลตามอย่างเป็นทางการเมื่ออายุ 14 ปี
ผู้ว่าการรัฐ
คลินตันเลือกสมาชิกวุฒิสมาชิกอัล กอร์ร่วมทีมรองประธานาธิบดี เอาชนะการเลือกตั้งต่อประธานาธิบดีจอร์จ บุช เมื่อ ค.ศ. 1992 โดยอาศัยจุดขายด้านเศรษฐกิจในประเทศที่ตกต่ำหลังจากประธานาธิบดีจอร์จ บุช ไปเน้นกิจการต่างประเทศอย่างเช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย
ในการเลือกตั้งทั่วไประหว่างสมัยของคลินตันใน ค.ศ. 1994 พรรคเดโมแครตได้เสียที่นั่งข้างมากในรัฐสภาเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี ทำให้เกิดสภาวะที่ประธานาธิบดีกับเสียงข้างมากของสภามาจากคนละพรรคกัน
คลินตันมีสัมพันธ์อันดีกับนายกรัฐมนตรี โทนี แบลร์ แห่งสหราชอาณาจักร เขามีบทบาทในกิจการต่างประเทศที่สำคัญ เช่น การส่งทหารเข้าไปในประเทศโซมาเลีย การโจมตีกรุงโคโซโวของอดีตประเทศยูโกสลาเวียเดิม สันติภาพในไอร์แลนด์เหนือ และกรณีของประเทศอิสราเอลกับปาเลสไตน์
วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2550
จิอาโคโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาลี เกิดที่เมืองลุกกา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 โอเปร่าที่โ่ด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย และ ทอสก้า
ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924)
ผลงานประพันธ์โอเปร่าที่สำคัญ ๆ
Le Villi (31/05/1884 Teatro dal Verme, Milan)
Le Villi [rev] (26/12/1884 Teatro Regio, Turin)
Edgar (21/04/1889 Teatro alla Scala, Milan)
Edgar [rev 1] (05/09/1891 Teatro del Giglio, Lucca)
Edgar [rev 2] (28/01/1892 Teatro Comunale, Ferrara)
Manon Lescaut (01/02/1893 Teatro Regio, Turin)
La bohème (01/02/1896 Teatro Regio, Turin)
Tosca (14/01/1900 Teatro Costanzi, Roma)
Madama Butterfly (Madame Butterfly) (17/02/1904 Teatro alla Scala, Milan)
Madama Butterfly [rev 1] (28/08/1904 Teatro Grande, Brescia)
Edgar [rev 3] (08/07/1905 Teatro Colón, Buenos Aires)
Madama Butterfly [rev 2] (10/07/1905 Covent Garden, London)
Madama Butterfly [rev 3] (28/12/1906 Opéra Comique, Paris)
La fanciulla del West (10/12/1910 Metropolitan Opera, New York)
La rondine (27/03/1917 Opéra, Monte Carlo)
Il trittico (14/12/1918 Metropolitan Opera, New York):
- Il tabarro
Suor Angelica
Gianni Schicchi
Turandot (25/04/1926 Teatro alla Scala, Milan)
วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550
ประวัติศาสตร์
(รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
การเมือง
ประเทศจอร์แดนแบ่งการปกครองออกเป็น 12 เขตผู้ว่าราชการ (governorates) ซึ่งมีผู้ว่าราชการที่แต่งตั้งโดยสมเด็จพระราชาธิบดี เป็นเจ้าหน้าที่สำหรับทุกกรมของรัฐบาลและโครงการพัฒนาในแต่ละเขตเพียงผู้เดียว
อัจลูน (Ajlun)
อัมมาน (Amman)
อะกาบา (Aqaba)
บัลกา (Balqa)
อีร์บิด (Irbid)
จะรัช (Jarash)
กะรัก (Karak)
มะอาน (Ma'an)
มะดะบา (Madaba)
มะฟรัก (Mafraq)
ตาฟีละห์ (Tafilah)
ซาร์กา (Zarqa) ภูมิศาสตร์
ผลิตสารฟอสเฟตที่สำคัญของโลก
(รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
การเมือง
ประเทศจอร์แดนแบ่งการปกครองออกเป็น 12 เขตผู้ว่าราชการ (governorates) ซึ่งมีผู้ว่าราชการที่แต่งตั้งโดยสมเด็จพระราชาธิบดี เป็นเจ้าหน้าที่สำหรับทุกกรมของรัฐบาลและโครงการพัฒนาในแต่ละเขตเพียงผู้เดียว
อัจลูน (Ajlun)
อัมมาน (Amman)
อะกาบา (Aqaba)
บัลกา (Balqa)
อีร์บิด (Irbid)
จะรัช (Jarash)
กะรัก (Karak)
มะอาน (Ma'an)
มะดะบา (Madaba)
มะฟรัก (Mafraq)
ตาฟีละห์ (Tafilah)
ซาร์กา (Zarqa) ภูมิศาสตร์
ผลิตสารฟอสเฟตที่สำคัญของโลก
วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2550
พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นผู้มีส่วนร่วมสำคัญในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 " พ.อ.ณรงค์เป็นลูกชายของจอมพลถนอม กิตติขจร และเป็นลูกเขยของจอมพลประภาส จารุเสถียร เพราะได้สมรสกับนางสุภาพร กิตติขจร บุตรสาวคนที่ 3 ของจอมพลประภาส ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐประหาร (รัฐประหารในประเทศไทย 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เมื่อการรัฐประหารเสร็จสิ้นลง ได้ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการคณะกรรมการตรวจและติดตามผลการปฏิวัติราชการ (กตป.) และเป็นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
หลังจากเหตุการณ์รัฐประหารครั้งนี้แล้ว พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นที่คาดหมายว่าจะเป็นผู้สืบทอดอำนาจต่อจากจอมพลถนอม กิตติขจร ผู้เป็นพ่อ เพราะด้วยสถานการณ์ในเวลานั้น ปรากฏข่าวการคอร์รัปชั่นกันอย่างกว้างขวางรวมทั้งการใช้อำนาจไปในทางที่มิชอบด้วย เช่น กรณีเฮลิคอปเตอร์ทหารตกที่ อ.บางเลน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2516 เป็นต้น ทางรัฐบาลได้แก้ปัญหาด้วยการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติราชการ หรือ กตป. ขึ้นมาเพื่อจัดการปัญหาการคอร์รัปชั่น แต่มี พ.อ.ณรงค์ ซึ่งเป็นลูกชายนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแลซะเอง จึงไม่มีความเชื่อมั่นว่าจะสามารถจัดการปัญหาได้อย่างแท้จริง' ดังนั้นเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา ขึ้น ประชาชนส่วนหนึ่งที่โกรธแค้นจึงได้เผาทำลายอาคารของสำนักงานแห่งนี้ ที่ตั้งอยู่ ณ. สี่แยกคอกวัว เสียราบคาบ
ส่วนบทบาทของ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขึ้นเฮลิคอปเตอร์และเป็นผู้กราดยิงกระสุนจริงจากเฮลิคอปเตอร์ลงมายังผู้ชุมนุมที่อยู่เบื้องล่างด้วย แต่ พ.อ.ณรงค์ ก็ได้ปฏิเสธในเรื่องนี้มาโดยตลอด หลังสถานการณ์ทางการเมืองสงบลง พ.อ.ณรงค์ได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย และก่อตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาในปี พ.ศ. 2524 ชื่อพรรค " เสรีนิยม " ได้ลงสมัคร สส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับเลือกเป็น สส ในสมัยนั้น ล่าสุด ในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2546 นายเทพมนตรี ลิมปพยอม นักวิชาการอิสระ ได้ออกหนังสือมา 2 เล่ม "ลอกคราบ 14 ตุลา ดักแด้ประวัติศาสตร์การเมืองไทย" และ "พันเอกณรงค์ กิตติขจร 30 ปี 14 ตุลา ข้อกล่าวหาที่ไม่สิ้นสุด" โดยมีเนื้อหาอ้างอิงจากเอกสารราชการลับในเหตุการณ์ 14 ตุลา
ประวัติของชื่อ
คำว่า "computer science" แต่เดิมในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอมพิวเตอร์ไซแอ้นซ์" โดยเป็นชื่อของหน่วยงานหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกในประเทศไทยที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ต่อมาได้ย้ายมาเป็นภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สังกัดคณะวิศวกรรมศาสตร์ และยังคงหลักสูตรวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิตไว้ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวในประเทศที่ใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์" ส่วนหน่วยงานที่เปิดสอนวิชานี้ในระดับปริญญาตรีแห่งแรกในประเทศไทยคือ สาขาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (ชื่อเดิม) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งสาเหตุที่เดิมเรียกว่า "ศาสตร์คอมพิวเตอร์" เนื่องจากคำว่า "ไซน์" ในความหมายนี้คือ "ศาสตร์" เช่นเดียวกับใน สังคมศาสตร์ หรือ โซเชียลไซน์ (social science)
ต่อมาราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดคำว่า "วิทยาการคอมพิวเตอร์" ให้มีความหมายตรงกับคอมพิวเตอร์ไซน์ขึ้น ทำให้หน่วยงานที่ต่างๆ ปรับมาใช้คำว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือใช้คำศัพท์อื่นๆ ที่มีความหมายใกล้เคียงตามแต่ละสถาบันกำหนด เช่น วิทยาการคณนา ซึ่งมาจากศาสตร์แห่งการคำนวณเชิงคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการเรียนการสอนเน้นทางด้านการคำนวณคณิตศาสตร์สำหรับงานคอมพิวเตอร์มากกว่า การศึกษาองค์ความรู้ที่เกียวกับคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือ สาขาที่ใกล้เคียงอย่าง คณิตศาสตร์ประยุกต์ เป็นต้น
ชื่อในภาษาไทย
ชาร์ลส แบบเบจ ผู้ออกแบบและสร้างเครื่องลบเลข
จอห์น แบกคัส ผู้คิดค้น ภาษาฟอร์แทรน
อลอนโซ เชิร์ช ผู้พัฒนาพื้นฐานของวิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี
เจมส์ ดับเบิลยู คูลีย์ (James W. Cooley) และ จอหน์ ดับเบิลยู ทูคีย์ (John W. Tukey คิดค้น) ขั้นตอนวิธีการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว ซึ่งมีบทบาทอย่างสูงในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
โอเล-โจฮาน ดาห์ล (Ole-Johan Dahl) และ เคียสเทน ไนก์อาร์ด (Kristen Nygaard) คิดค้นภาษา SIMILA ซึ่งเป็นโปรแกรมเชิง(กึ่ง)วัตถุ
เอดส์เกอร์ ไดจ์สตรา (Edsger Dijkstra) พัฒนาขั้นตอนวิธีพื้นฐาน, rigor, การโปรแกรมโดยใช้ semaphore, บทความ "คำสั่ง โกทู (Goto) นั้นพิจารณาดูแล้วไม่ปลอดภัย" ซึ่งพูดถึงอันตรายจากการใช้คำสั่งโกทู (Goto), และกลวิธีในการสอน
ซี.เอ.อาร์. ฮอร์ (C.A.R Hoare) พัฒนาภาษาทางการซีเอสพี (CSP) (Communicating Sequential Processes) และ ขั้นตอนวิธี Quicksort
พลเรือเอกเกรซ มัวเรย์ ฮอปเปอร์ (Admiral Grace Murray Hopper) บุกเบิกพื้นฐานของโปรแกรมภาษาระดับสูง ที่เธอเรียกว่า "การโปรแกรมอัตโนมัติ", พัฒนาตัวแปลภาษา (A-O compiler), และมีอิทธิพลอย่างสูงกับภาษาโคบอล (COBOL)
เคนเนท ไอเวอร์สัน (Kenneth Iverson) คิดค้นภาษา APL และมีส่วนร่วมพัฒนาการคำนวณแบบปฏิสัมพันธ์
โดนัล คนุท (Donald Knuth) เขียนชุดหนังสือ The Art of Computer Programming และระบบสร้างเอกสาร TeX
เอดา ไบรอน หรือ เอดา เลิฟเลซ ริเริ่มการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ โดยเฉพาะบทความ "Sketch of the Analytical Engine" ที่เป็นการวิเคราะห์งานของ แบบเบจ, ชื่อของเธอยังเป็นชื่อของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ Ada อีกด้วย
จอห์น วอน นอยแมน (John von Neuman) ออกแบบสถาปัตยกรรมวอนนอยแมน ที่เป็นพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
คลอด อี. แชนนอน (Claude E. Shannon) ริเริ่มทฤษฎีสารสนเทศ (information theory)
แอลัน ทัวริง (Alan Turing) บุกเบิกพื้นฐานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สำหรับการวางรูปแบบของเครื่องจักรทัวริง (Turing machine) และออกแบบไพลอท เอซีอี (Pilot ACE)
มัวริส วิลค์ส (Maurice Wilkes) สร้างคอมพิวเตอร์แบบเก็บโปรแกรมได้ (stored program computer) ได้สำเร็จ และมีส่วนในโครงสร้างพื้นฐานของภาษาโปรแกรมระดับสูง
คอนราด ซูส (Konrad Zuse) สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ไบนารีที่เขาได้ออกแบบทฤษฎีสำหรับภาษาโปรแกรมชั้นสูง ชื่อว่า Plankalkül
โทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ (Tosiyasu Laurence Kunii) นิยามความหมายของโลกไซเบอร์ (Cyberworlds) และเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ของเอเชีย ผู้บุกเบิก
รางวัลทัวริง (Turing Award) รางวัลที่ได้รับการยกย่องสูงสุดในวงการวิทยาการคอมพิวเตอร์
รางวัลด้านการศึกษาเทย์เลอร์ แอล บูธ (Taylor L. Booth Education Award) เพื่อยกย่องผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับวงการการศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ รางวัลทางด้านคอมพิวเตอร์
สาขาหลัก
พีชคณิตบูลีน
วิยุตคณิต หรือ ภินทนคณิตศาสตร์
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีสารสนเทศ
ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์
ทฤษฎีความน่าจะเป็น และ สถิติศาสตร์ พื้นฐานคณิตศาสตร์
ทฤษฎีสารสนเทศเชิงขั้นตอนวิธี (Algorithmic information theory)
ทฤษฎีการคำนวณได้
วิทยาการเข้ารหัสลับ
อรรถศาสตร์รูปนัย (Formal semantics)
ทฤษฎีการคำนวณ
คำว่า "computer science" แต่เดิมในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอมพิวเตอร์ไซแอ้นซ์" โดยเป็นชื่อของหน่วยงานหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกในประเทศไทยที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ต่อมาได้ย้ายมาเป็นภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สังกัดคณะวิศวกรรมศาสตร์ และยังคงหลักสูตรวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิตไว้ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวในประเทศที่ใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์" ส่วนหน่วยงานที่เปิดสอนวิชานี้ในระดับปริญญาตรีแห่งแรกในประเทศไทยคือ สาขาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (ชื่อเดิม) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งสาเหตุที่เดิมเรียกว่า "ศาสตร์คอมพิวเตอร์" เนื่องจากคำว่า "ไซน์" ในความหมายนี้คือ "ศาสตร์" เช่นเดียวกับใน สังคมศาสตร์ หรือ โซเชียลไซน์ (social science)
ต่อมาราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดคำว่า "วิทยาการคอมพิวเตอร์" ให้มีความหมายตรงกับคอมพิวเตอร์ไซน์ขึ้น ทำให้หน่วยงานที่ต่างๆ ปรับมาใช้คำว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือใช้คำศัพท์อื่นๆ ที่มีความหมายใกล้เคียงตามแต่ละสถาบันกำหนด เช่น วิทยาการคณนา ซึ่งมาจากศาสตร์แห่งการคำนวณเชิงคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการเรียนการสอนเน้นทางด้านการคำนวณคณิตศาสตร์สำหรับงานคอมพิวเตอร์มากกว่า การศึกษาองค์ความรู้ที่เกียวกับคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือ สาขาที่ใกล้เคียงอย่าง คณิตศาสตร์ประยุกต์ เป็นต้น
ชื่อในภาษาไทย
ชาร์ลส แบบเบจ ผู้ออกแบบและสร้างเครื่องลบเลข
จอห์น แบกคัส ผู้คิดค้น ภาษาฟอร์แทรน
อลอนโซ เชิร์ช ผู้พัฒนาพื้นฐานของวิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี
เจมส์ ดับเบิลยู คูลีย์ (James W. Cooley) และ จอหน์ ดับเบิลยู ทูคีย์ (John W. Tukey คิดค้น) ขั้นตอนวิธีการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว ซึ่งมีบทบาทอย่างสูงในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
โอเล-โจฮาน ดาห์ล (Ole-Johan Dahl) และ เคียสเทน ไนก์อาร์ด (Kristen Nygaard) คิดค้นภาษา SIMILA ซึ่งเป็นโปรแกรมเชิง(กึ่ง)วัตถุ
เอดส์เกอร์ ไดจ์สตรา (Edsger Dijkstra) พัฒนาขั้นตอนวิธีพื้นฐาน, rigor, การโปรแกรมโดยใช้ semaphore, บทความ "คำสั่ง โกทู (Goto) นั้นพิจารณาดูแล้วไม่ปลอดภัย" ซึ่งพูดถึงอันตรายจากการใช้คำสั่งโกทู (Goto), และกลวิธีในการสอน
ซี.เอ.อาร์. ฮอร์ (C.A.R Hoare) พัฒนาภาษาทางการซีเอสพี (CSP) (Communicating Sequential Processes) และ ขั้นตอนวิธี Quicksort
พลเรือเอกเกรซ มัวเรย์ ฮอปเปอร์ (Admiral Grace Murray Hopper) บุกเบิกพื้นฐานของโปรแกรมภาษาระดับสูง ที่เธอเรียกว่า "การโปรแกรมอัตโนมัติ", พัฒนาตัวแปลภาษา (A-O compiler), และมีอิทธิพลอย่างสูงกับภาษาโคบอล (COBOL)
เคนเนท ไอเวอร์สัน (Kenneth Iverson) คิดค้นภาษา APL และมีส่วนร่วมพัฒนาการคำนวณแบบปฏิสัมพันธ์
โดนัล คนุท (Donald Knuth) เขียนชุดหนังสือ The Art of Computer Programming และระบบสร้างเอกสาร TeX
เอดา ไบรอน หรือ เอดา เลิฟเลซ ริเริ่มการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ โดยเฉพาะบทความ "Sketch of the Analytical Engine" ที่เป็นการวิเคราะห์งานของ แบบเบจ, ชื่อของเธอยังเป็นชื่อของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ Ada อีกด้วย
จอห์น วอน นอยแมน (John von Neuman) ออกแบบสถาปัตยกรรมวอนนอยแมน ที่เป็นพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
คลอด อี. แชนนอน (Claude E. Shannon) ริเริ่มทฤษฎีสารสนเทศ (information theory)
แอลัน ทัวริง (Alan Turing) บุกเบิกพื้นฐานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สำหรับการวางรูปแบบของเครื่องจักรทัวริง (Turing machine) และออกแบบไพลอท เอซีอี (Pilot ACE)
มัวริส วิลค์ส (Maurice Wilkes) สร้างคอมพิวเตอร์แบบเก็บโปรแกรมได้ (stored program computer) ได้สำเร็จ และมีส่วนในโครงสร้างพื้นฐานของภาษาโปรแกรมระดับสูง
คอนราด ซูส (Konrad Zuse) สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ไบนารีที่เขาได้ออกแบบทฤษฎีสำหรับภาษาโปรแกรมชั้นสูง ชื่อว่า Plankalkül
โทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ (Tosiyasu Laurence Kunii) นิยามความหมายของโลกไซเบอร์ (Cyberworlds) และเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ของเอเชีย ผู้บุกเบิก
รางวัลทัวริง (Turing Award) รางวัลที่ได้รับการยกย่องสูงสุดในวงการวิทยาการคอมพิวเตอร์
รางวัลด้านการศึกษาเทย์เลอร์ แอล บูธ (Taylor L. Booth Education Award) เพื่อยกย่องผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับวงการการศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ รางวัลทางด้านคอมพิวเตอร์
สาขาหลัก
พีชคณิตบูลีน
วิยุตคณิต หรือ ภินทนคณิตศาสตร์
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีสารสนเทศ
ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์
ทฤษฎีความน่าจะเป็น และ สถิติศาสตร์ พื้นฐานคณิตศาสตร์
ทฤษฎีสารสนเทศเชิงขั้นตอนวิธี (Algorithmic information theory)
ทฤษฎีการคำนวณได้
วิทยาการเข้ารหัสลับ
อรรถศาสตร์รูปนัย (Formal semantics)
ทฤษฎีการคำนวณ
- การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี และ ความซับซ้อนของปัญหา
ตรรกศาสตร์และความหมายของโปรแกรม
คณิตตรรกศาสตร์ และภาษารูปนัย (Formal languages)
ทฤษฎีแบบชนิด (Type theory) วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจำ
วงจรรวม
- วงจรรวมขนาดใหญ่ (VLSI)
อินพุต/เอาต์พุต และ การสื่อสารข้อมูล
การ์ดแสดงผล
การ์ดเสียง
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ การเขียนโปรแกรม
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
ภาษาโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ
ตัวแปลภาษา (คอมไพเลอร์) ซอฟต์แวร์
โครงสร้างข้อมูล (Data structures )
การบีบอัดข้อมูล (Data compression )
ฐานข้อมูล (Database )
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design )
ตัวแปลภาษา (Compiler )
คลังข้อมูล (Data Warehouse ) ระบบข้อมูลและสารสนเทศ
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence )
วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์) (Computer graphics )
การประมวลผลภาพ (Image processing ) และ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer vision )
การรู้จำแบบ (Pattern recognition )
- การรู้จำคำพูด (Speech recognition )
การรู้จำภาพ (Image recognition )
การประมวลผลเอกสารและข้อความ (Document processing , Text processing )
การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล (Digital signal processing )
การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval )
การทำเหมืองข้อมูล (Data Mining )
- การทำเหมืองข้อความ (Text Mining ) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือศาสตร์คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กับสาขาอื่นๆ อีกหลายศาสตร์ ถึงแม้ว่าในแต่ละศาสตร์ จะครอบคลุมเนื้อหาที่เหมือนกันอยู่อย่างเห็นได้ชัด แต่ว่าแต่ละศาสตร์ หรือสาขาก็จะมีลักษณะสำคัญ และระดับของการศึกษ การวิจัย และการประยุกต์ใช้แตกต่างกันไปจากสาขาอื่นๆ
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ การใช้หลักการวิศวกรรม ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเก็บความต้องการ การออกแบบ การสร้าง การทดสอบ วิเคราะห์ จนถึงการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ระบบอุปกรณ์ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสาร ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรม
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (วิศวกรรมส่วนชุดคำสั่ง) เน้นที่กระบวนการวิศวกรรมสำหรับระบบซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยเริ่มด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ, การออกแบบ, การพัฒนา, การทดสอบ ตลอดจนถึงการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์
วิทยาการสารสนเทศ (สารสนเทศศาสตร์) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับภาคทฤษฎีสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การรับรู้, การทำความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การจัดเก็บ, การค้นคืน, การสร้าง, การโต้ตอบ, การสื่อสาร, และ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นการประยุกต์ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสังคม ธุรกิจ องค์กร หรืออุตสาหกรรม
ระบบสารสนเทศ เป็นการศึกษาการใช้งานคอมพิวเตอร์ สำหรับระบบการทำงานที่อาศัยข้อมูลสารสนเทศ เพื่อจุดประสงค์ในการช่วยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานต่างๆ ภายในองค์กร โดยคำประยุกต์ใช้งานนั้น จะมีความหมายครอบคลุมถึง การออกแบบ,ใช้งาน, การติดตั้ง, และการบำรุงรักษา ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์, เครือข่าย, บุคลากร หรือข้อมูล
- ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นสาขาย่อยของระบบสารสนเทศ โดยจะเน้นที่ระบบสารสนเทศ ที่จัดการเกี่ยวกับการบริหารจัดการการเงิน และบุคลากร
- การทำเหมืองข้อความ (Text Mining ) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
- การรู้จำคำพูด (Speech recognition )
- วงจรรวมขนาดใหญ่ (VLSI)
วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2550
เคเบิล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย นายเท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2523
ปัจจุบัน ซีเอ็นเอ็นบริหารงานโดย เทิร์นเนอร์บรอดแคสติงซิสเตม หน่วยงานในเครือ ไทม์วอร์เนอร์ โดยสำนักงานใหญ่ของซีเอ็นเอ็น ตั้งอยู่ที่เมืองแอตแลนตา มลรัฐจอร์เจีย แต่มีห้องส่งอื่นๆ อยู่ที่ นครนิวยอร์ก และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
ซีเอ็นเอ็น เป็นสถานีโทรทัศน์ข่าว ที่มีผู้ชมมากเป็นอันดับต้นๆ ของสหรัฐอเมริกา และทั่วโลก โดยมีคู่แข่งในประเทศที่สำคัญคือ ฟอกซ์นิวส์ และคู่แข่งในต่างประเทศคือ บีบีซีเวิลด์
ช่องรายการของซีเอ็นเอ็น ที่ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา จะส่งสัญญาณไปยังประเทศแคนาดาเพียงแห่งเดียว แต่ช่องรายการของซีเอ็นเอ็น ที่ออกอากาศใน 212 ประเทศทั่วโลกนั้น เป็นส่วนหนึ่งของ ซีเอ็นเอ็นนานาชาติ (CNN International)
การเริ่มต้นออกอากาศ
วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2523 เวลา 17.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น นายเท็ด เทอร์เนอร์ ผู้ก่อตั้งซีเอ็นเอ็น ได้จัดงานเฉลิมฉลองสำหรับการออกอากาศเป็นวันแรก บริเวณสนามหญ้าหน้าสำนักงานเท็ควู้ด (อาคารสีขาว) ของซีเอ็นเอ็น โดยนายเท็ดขึ้นกล่าวนำ และได้เชิญ นายทอม ฮีลเลอร์ อดีตนายกสมาคมโทรทัศน์เคเบิลแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา นายบ๊อบ วูสเลอร์ และ นายรีส ชอนเฟลด์ สองผู้ร่วมก่อตั้งซีเอ็นเอ็น กับนายเท็ด สาธุคุณวิลเลียม บอร์เดอร์ แห่งวิหารแบบติสท์ ฮวิท สตรีท เมืองแอตแลนตา
ต่อมา เวลา 17.59 น. นายเท็ดขึ้นกล่าวอีกครั้ง เมื่อถึงเวลา 18.00 น. ซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้นการออกอากาศ ภาพแรกที่ปรากฏบนหน้าจอซีเอ็นเอ็น คือภาพของนายเท็ดกำลังกล่าวปราศรัยบนปะรำพิธี ระหว่างนั้น นายเท็ดกำลังอธิบายถึงธงสามผืนบนยอดเสาในงานนี้ ประกอบด้วย ธงชาติสหรัฐอเมริกา ธงรัฐจอร์เจีย ประเทศและรัฐที่ตั้งซีเอ็นเอ็น และ ธงสหประชาชาติ ซึ่งเป็นการประกาศว่า ซีเอ็นเอ็นจะนำเสนอข่าวจากทั่วทุกมุมโลกด้วย จึงถือเป็นคำกล่าวครั้งแรกในการออกอากาศของซีเอ็นเอ็น จากนั้น นายเท็ดประกาศเจตนารมณ์ในการก่อตั้งสถานีฯ จบแล้ว วงดุริยางค์บรรเลงเพลงชาติสหรัฐอเมริกา เมื่อสิ้นเสียงเพลง นายเท็ดประกาศว่า "เอาเลย" เมื่อเวลา 18.04 น.
ภาพบนจอซีเอ็นเอ็น เปลี่ยนเป็นภาพจานดาวเทียมเต็มจออยู่ระยะหนึ่ง จากนั้น ภาพได้เคลื่อนผ่านไปสู่ห้องข่าวที่มีเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ตั้งอยู่ตามโต๊ะต่างๆ โดยมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานอยู่จำนวนหนึ่ง ต่อมา ก็ปรากฏสัญลักษณ์ของสถานีฯ ขึ้นบนหน้าจอ และเลือนหายไป โดยปรากฏข้อความต่อมา คือ สถานีโทรทัศน์ข่าวสาร (News Channel) แทนที่ ซึ่งเลือนหายไปอีกครั้ง เมื่อภาพเคลื่อนเข้าใกล้โต๊ะประกาศข่าว โดยมีผู้ประกาศข่าวคู่แรก คือ นายเดวิด วอล์กเกอร์ และ นางสาวหลุยส์ ฮาร์ท นั่งประจำอยู่ เขาและเธอเริ่มต้นการประกาศข่าว ซึ่งเป็นหน้าที่หลักของสถานีฯ และได้นำเสนอข่าวสารที่น่าสนใจจากทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง มาจนถึงทุกวันนี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)